วันเสาร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 6
วันพฤหัสบดี ที่ 18  กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เวลา 8.30 - 11.30 น

เนื้อหาการเรียน
                          - อาจารย์ทบทวนการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่
โดยมีอุปกรณ์ให้จังหวะ เพื่อกำหนดการเคลื่อนที่ เช่น การเคาะจังหวะ 1 ครั้ง = การเดิน 1 ก้าว
การเคาะจังหวะ 2 ครั้ง  = การเดิน 2 ก้าว , การเคาะจังหวะรัวๆ = การวิ่งไปรอบๆอย่างอิสระ ,
การเคาะจังหวะ 2 ครั้งติดกันดังๆ =  หยุด และอาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มออกไปทำกิจกรรมหน้าชั้นเรียน

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3 (กลุ่มดิฉัน)

กลุ่มที่ 4

                          - กิจกรรมต่อมาเครื่องดนดรีคือ กระดิ่ง โดยกระดิ่งมี 2 เสียงด้วยกัน
เสียงแรกคือ เสียงต่ำ , เสียงที่สองคือ เสียงสูง อาจารย์จึงแนะนำการจัดกิจกรรมให้นักศึกษา
เช่น ได้ยินเสียงต่ำให้ย่อตัวลงแต่หากได้ยินเสียงสูงให้ยืดตัวให้สูงที่สุด



                        - อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อคิดกิจกรรมการเคลื่นไหวโดยใช้กระดิ่ง


                       - แต่ละกลุ่มออกไปทำกิจกรรมการเคลื่อนไหวหน้าชั้นเรียน

กลุ่มที่ 1 

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3 (กลุ่มดิฉัน)

กลุ่มที่ 4


ประเมินตนเอง
                        - ตั้งใจฟังอาจารย์
                        - ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินเพื่อน
                       - เพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
                        - แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
                        - มีน้ำเสียงที่น่าฟัง

วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 5
วันจันทร์ ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เวลา 8.30 - 10.30 น.

เนื้อหาการเรียน
                         - เข้าสู่บทเรียนเรื่อง"หลากหลายเทคนิคการจัดกิจกรรมและการผลิตสื่อ
เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทั้ง 7 ด้านของเด็กปฐมวัย"


















วันพฤหัสบดี ที่ 11  กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เวลา 8.30 - 11.30 น

เนื้อหาการเรียน
                         - อาจารย์เริ่มต้นการเรียนการสอนวันนี้ด้วยการนำนักศึกษาทำท่าบริหารสมอง




                       - กิจกรรมต่อมาอาจารย์สอนนักศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่
โดยมีอุปกรณ์ให้จังหวะ เพื่อกำหนดการเคลื่อนที่ เช่น การเคาะจังหวะ 1 ครั้ง = การเดิน 1 ก้าว
การเคาะจังหวะ 2 ครั้ง  = การเดิน 2 ก้าว , การเคาะจังหวะรัวๆ = การวิ่งไปรอบๆอย่างอิสระ


     
                        - เครื่องดนดรีชิ้นต่อมาคือ กระดิ่ง โดยกระดิ่งมี 2 เสียงด้วยกัน
เสียงแรกคือ เสียงต่ำ , เสียงที่สองคือ เสียงสูง  ในกิจกรรมการเรียนหากนักศึกษา
ได้ยินเสียงต่ำให้ย่อตัวลงและเคลื่อนที่อย่างอิสระแต่หากได้ยินเสียงสูงให้ยืดตัว
สูงที่สุดและเคลื่อนที่อย่างอิสระ




ประเมินตนเอง
                        - ตั้งใจฟังอาจารย์
                        - ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินเพื่อน
                       - เพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
                        - แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
                        - มีน้ำเสียงที่น่าฟัง

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 4
วันจันทร์ ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เวลา 8.30 - 10.30 น.

เนื้อหาการเรียน
                         - นำเสนองานของแต่ละกลุ่ม ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย

กลุ่มที่ 1 ทฤษฏีพัฒนาการด้านสังคม


กลุ่มที่ 2 ทฤษฏีพัฒนาการด้านร่างกาย


ทฤษฎีของกีเซล เกี่ยวข้องด้านการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
             เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของเด็กในแต่ละระดับ 
 โดยเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลประกอบด้วย
- พฤติกรรมด้านการเคลื่อนไหว การบังคับอวัยวะต่างๆของร่างกาย
- พฤติกรรมด้านการปรับตัว การประสานงานระหว่างตากับมือ การสั่นกระดิ่ง พฤติกรรมด้านภาษา              การแสดงออกทางหน้าตา การเปล่งเสียง การสื่อสารกับผู้อื่น
- พฤติกรรมด้านนิสัยส่วนตัวและสังคม การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น  ขั้นตอนการหยิบอาหารใส่ปาก    การพัฒนาการจากศีรษะจรดเท้า เช่น เด็พัฒนาการเริ่มจากหันศีรษะ ชั้นคอ คว่ำ คืบ นั่ง    คลาน ยืน เดิน วิ่ง ตามลำดับ
ทฤษฎีของซิกมัน ฟรอยด์ เกี่ยวข้องกับพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของเด็ก                        
ที่โดยเฉพาะวัยสำคัญที่สุด คือ 5 ปี กล่าวถึงพัฒนาการทางเพศ หรือ พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ของเด็กแต่ละคนขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงชีวภาพของร่างกาย ของเด็กปฐมวัย คือ 
ขั้นความพอใจอยู่บริเวณปาก ปากจะนำความสุขเมื่อได้ถูกอาหารเมื่อยามหิวขั้นความพอใจ
อยู่ที่บริเวณทวารหนัก เด็กจะเรียนรู้ การขับถ่าย ช่วงอายุ 1-3 ปีขั้นความพอใจอยู่ที่อวัยวะเพศ 
จะสนใจอยากรู้อยากเห็น เลียนแบบบทบาทของพ่อแม่ อยู่ในช่วงอายุ 3-6 ปี

กลุ่มที่ 3 ทฤษฏีพัฒนาการด้านสติปัญญา


กลุ่มที่ 4 ทฤษฏีพัฒนาการด้านอารมณ์



วันพฤหัสบดี ที่ 4  กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
เวลา 8.30 - 11.30 น.

เนื้อหาการเรียน
                        - อาจารย์เริ่มต้นคาบเรียนด้วยการให้นักศึกษาทุกคนออกไปนำเพื่อนทำท่า
การเคลื่อนไหวอยู่กับที่คนละ 1 ท่า




                       - อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้ช่วยกันคิดท่าทางการเคลื่อนไหว                  อยู่กับที่กลุ่มละ 10 ท่า


กลุ่มที่ 1 


กลุ่มที่ 2


กลุ่มที่ 3 


กลุ่มที่ 4


                     - กิจกรรมสุดท้ายอาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนออกมานำเพื่อนทำท่าทางการ
เคลื่อนไหวอยู่กับที่คนละ 3 ท่า โดยสมมติว่าตนเองเป็นครู



ประเมินตนเอง
                        - ตั้งใจฟังอาจารย์
                        - ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินเพื่อน
                       - เพื่อนๆทุกคนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
                        - แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
                        - มีน้ำเสียงที่น่าฟัง